บทเรียน
นักเขียนรับเชิญคนพิเศษ – คุณ สรินยา วิทยาอารีย์กุล (ครูยา)
เรียนภาษาอิตาลี วันที่ 74
สวัสดีค่ะ ในวิดีโอนี้ ครูเวโรนิค่าจะเฉลยข้อสอบในระดับ A2 ให้พวกเราได้ทราบกันค่ะ
กดที่ลิ้งค์นี้แล้วไปดูวิดีโอกันเลยค่ะ ถ้าไม่เข้าใจอะไรก็ค่อยกลับมาดูคำแปลทีหลังค่ะ
Soluzione esame di livello A2
เฉลยข้อสอบในระดับ A2
– Ciao a tutti!!!
สวัสดีค่ะทุกๆ คน!!!
– Come state?
พวกเธอเป็นอย่างไรกันบ้างคะ
– Io bene, ma oggi, vi ricordate?
ฉันสบายดีค่ะ แต่ว่าวันนี้ พวกเธอจำกันได้ไหมคะ
– Oggi è il giorno della verità!
วันนี้เป็นวันของความจริงค่ะ!
– Quale verità?
ความจริงอะไรคะ
– Eh… saprete se siete stati promossi o bocciati all’esame di livello A2.
ค่ะ… พวกเธอจะได้ทราบว่า พวกเธอจะสอบผ่าน หรือจะสอบตกในการสอบของระดับ A2 กันค่ะ
– Vi ricordate?
พวกเธอจำกันได้ไหมคะ
– L’altra volta c’è stato l’esame di livello A2.
ครั้งที่แล้วได้มีการสอบในระดับ A2 ค่ะ
– E oggi abbiamo le soluzioni!
และวันนี้ พวกเราก็จะมีการเฉลยข้อสอบค่ะ!
– Eccoci qua!
นี่ไงค่ะ!
– Quindi bando alle ciance e iniziamo a correggere il vostro compito.
ดังนั้น เลิกพูดมากแล้วพวกเรามาเริ่มตรวจการบ้านของพวกเธอกันดีกว่าค่ะ
– Bene, domanda numero 1, che si riferisce alla lezione 26.
ดีค่ะ คำถามหมายเลข 1 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 26
– Chi porta il vino?
ใครนำไวน์มาคะ
A) Il porto io.
😎 Porto lo io.
C) Lo porto io.
– Secondo voi qual è la risposta corretta?
ในความคิดของพวกเธอ ข้อไหนคือคำตอบที่ถูกต้องคะ
– Bravi la C, lo porto io.
เก่งมากค่ะ ข้อ C ฉันนำมันมาค่ะ
– Bene.
ดีค่ะ
– Perché vi ricordate?
เพราะว่าอะไรคะ พวกเธอจำกันได้ไหมคะ
– Il pronome, sì, il pronome diretto va prima del verbo e non dopo.
คำสรรพนาม ใช่ค่ะ คำสรรพนามแบบตรง ต้องอยู่ก่อนคำกริยา ไม่ใช่อยู่หลังคำกริยาค่ะ
– Quindi spero che non abbiate risposto B.
ดังนั้น ฉันหวังว่าพวกเธอคงจะไม่ได้ตอบข้อ B กันนะคะ
– Ok.
โอเคค่ะ
– E il non ha niente a che fare, perché anche se l’articolo è il, il vino,
คำว่า il มันไม่เกี่ยวเลยค่ะ ถึงแม้ว่าคำนำหน้านามมันคือ il, il ไวน์
il pronome diretto che corrisponde al maschile, che sia il o lo, è sempre lo, ricordate!
คำสรรพนามแบบตรงที่ใช้กับเพศชาย ไม่ว่าจะเป็นจะเป็นคำนาม il หรือคำนาม lo คำสรรพนามแบบตรงคือ lo ตลอดค่ะ พวกเธอจำกันไว้นะคะ!
– Quindi spero che abbiate risposto tutti C.
ดังนั้น ฉันหวังว่าพวกเธอจะตอบข้อ C กันทุกคนนะคะ
– Benissimo.
เก่งที่สุดเลยค่ะ
– Una cosa, una cosa.
อีกอย่างนึง
– La risposta non era in base ai contenuti, quindi non era in base a chi ha portato il vino, per esempio nella lezione 26.
ตอนนั้น คำตอบมันไม่ได้อยู่บนพื้นฐานของเนื้อหา ดังนั้น มันไม่ได้บอกว่า นำไวน์ไปให้ใครค่ะ ไปดูตัวอย่างเพิ่มในบทเรียนที่ 26 ค่ะ
– Ok? Eh… dovete guardare la grammatica, va bene?
ตามนี้นะคะ เอิ่ม… พวกเธอจะต้องดูหลักไวยากรณ์กันนะคะ โอเคไหมคะ
– Oppure anche in altre, em… in altre frasi, ci sono magari dei contenuti differenti dalle lezioni.
ในข้ออื่นๆ ก็ด้วยค่ะ อืม…ในประโยคอื่นๆ บางทีพวกมันก็มีเนื้อหาที่แตกต่างจากบทเรียนค่ะ
– Ovviamente io non li ho scritti uguali perché altrimenti avreste studiato a memoria e avreste superato l’esame.
แน่นอนค่ะ ว่าฉันไม่ได้เขียนให้มันเหมือนกัน เพราะว่าไม่เช่นนั้น พวกเธอก็จะเรียนแบบท่องจำ และก็จะสอบผ่านกัน
– Invece dovete riflettere sulla grammatica.
แต่สิ่งที่ควรจะเป็นคือ พวกเธอต้องคิดถึงหลักการใช้ภาษาค่ะ
– Non so se abbiate capito.
ฉันไม่รู้ว่าพวกเธอจะเข้าใจกันไหม
– Però se qualcuno commenta spiegheremo eh… così… bene.
แต่ว่าถ้ามีใครเขียนคอมเม้นท์ถามมา พวกเราก็จะอธิบายว่า เอิ่ม… แบบนี้ค่ะ… ดีค่ะ
เรียนภาษาอิตาลี
เรียนภาษาอิตาลี
– Domanda numero 2 che corrisponde alla lezione 27.
คำถามหมายเลข 2 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 27 ค่ะ
– Chi ha portato la torta?
ตอนนั้นใครนำขนมเค้กมาคะ
A) L’ha portato Giovanni.
โจวานนินำมันมาค่ะ
– Bravi, questo sbagliato, perché?
เก่งมากค่ะ ข้อนี้ผิดค่ะ ทำไมคะ
– Adesso vediamo perché.
ตอนนี้พวกเรามาดูกันว่าทำไมค่ะ
😎 L’ha portata Eleonora.
เอเลโอโนร่ะนำมันมาค่ะ
C) La ho portata io.
ฉันนำมันมาค่ะ
– Se fosse la C avrei dovuto eliminare la a e mettere un bell’apostrofo ma non lo fatto, quindi la C è scorretta.
ถ้าข้อ C เป็นข้อที่ถูก ตอนนั้นฉันจะต้องลบตัว a ออก และใส่เครื่องหมายลูกน้ำเข้าไป แต่ว่าฉันไม่ได้ทำมันค่ะ ดังนั้นข้อ C มันจึงไม่ถูกต้องค่ะ
– Abbiamo detto che la A è sbagliata.
พวกเราได้บอกว่าข้อ A มันผิดค่ะ
– Perché?
ทำไมคะ
– Bravi, bravissimi.
เก่งมากค่ะ เก่งมากๆค่ะ
– Perché quando abbiamo il pronome diretto anche se l’ausiliare è avere ok,
เพราะว่า เมื่อไหร่ที่พวกเราใช้คำสรรพนามแบบตรง แม้ว่าคำกริยาช่วยมันคือ avere โอเค
abbiamo l’accordo del participio, perché la torta l’ha portata Eleonora.
พวกเราจะต้องผัน participio ตามเพศและตามจำนวนค่ะ เพราะว่าขนมเค้ก เอเลโอโนร่าได้นำมันมาค่ะ
– Infatti la risposta corretta è la B, bravi.
นี่ไงคะ คำตอบที่ถูกต้องคือข้อ B ค่ะ เก่งมากค่ะ
– Bravi, se avete indicato la risposta corretta B.
เก่งมากค่ะ ถ้าพวกเธอตอบว่า ข้อที่ถูกต้อง คือ ข้อ B
– Continua.
ต่อค่ะ
– Perché questa, allora questa vale un punto, se avete scritta correttamente,
เพราะว่าข้อนี้ เอาหล่ะค่ะ ข้อนี้มีค่าหนึ่งคะแนนค่ะ ถ้าพวกเธอเขียนได้อย่างถูกต้อง
invece questa vale mezzo punto e infatti adesso continuiamo.
ส่วนข้อนี้มีค่าครึ่งคะแนนค่ะ และตอนนี้พวกเรามาต่อกันค่ะ
– E le candeline?
แล้วพวกเทียนแท่งเล็กๆ หล่ะคะ
– Ok, per esempio, forse non l’ho detto chi ha portato le candeline nella lezione 27,
โอเค ตัวอย่างเช่น บางที ตอนนั้นฉันไม่ได้บอกว่า ใครนำพวกเทียนแท่งเล็กๆ มาในบทเรียนที่ 27
infatti non era in base al contenuto, va bene?
นี่ไงคะ ตอนนั้นมันไม่ได้ถูกสอนไว้ค่ะ โอเคไหมคะ
A) L’ha portate Anna.
อานนานำพวกมันมา
😎 Le ha portato Marco.
มารโคะนำพวกมันมา
C) Le ha portate Laura.
เล่าร่านำพวกมันมา
– Allora, l’ha portate no, perché l’ è soltanto con maschile e femminile singolare.
เอาหล่ะค่ะ l’ha portate ไม่ใช่นะคะ เพราะว่า l’ มันใช้กับเพศชาย และเพศหญิง ในรูปเอกพจน์เท่านั้นค่ะ
– Le ha portato abbiamo detto che qua c’è l’accordo del participio.
เขาได้นำพวกมันมา พวกเราได้พูดไว้แล้วว่า ตรงนี้ เราต้องผัน participio ตามจำนวนเทียนที่เป็นพหูพจน์ค่ะ
– La risposta è “le ha portate”, perché che cosa?
คำตอบคือ “เขาได้นำพวกมันมา” เพราะว่าอะไรคะ
– Le candeline, femminile plurale.
พวกเทียนแท่งเล็กๆ ทั้งหลายนั้น เป็นเพศหญิงพหูพจน์ค่ะ
– Va bene?
โอเคไหมคะ
– Le ha portate Laura.
เลาร่าได้นำพวกมันมาค่ะ
– Quindi questa, la C è la risposta corretta.
ดังนั้นข้อนี้ ข้อ C มันคือคำตอบที่ถูกต้องค่ะ
– Quindi la seconda domanda, la soluzione B e C.
ดังนั้นคำถามที่สอง คำตอบคือข้อ B และข้อ C ค่ะ
– Bene, andiamo avanti.
ดีค่ะ พวกเราเดินหน้าต่อค่ะ
– Domanda numero 3, che corrisponde alla lezione 28.
เรียนภาษาอิตาลี
เรียนภาษาอิตาลี
คำถามหมายเลข 3 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 28 ค่ะ
– Che cosa porti ai tuoi parenti?
เธอนำอะไรไปให้พวกญาติๆ ของเธอคะ
A) Gli porto
😎 Portogli
C) Loro porto
– tanti regali.
ฉันนำของขวัญมากมายไปให้พวกเขาค่ะ
– Bravi! Allora.
เก่งมากค่ะ! เอาหล่ะค่ะ
– Gli porto, la risposta corretta è la A, perché?
ฉันนำไปให้พวกเขา คำตอบที่ถูกต้องคือข้อ A ค่ะ เพราะอะไรคะ
– Perché il pronome va prima e non dopo attaccato al verbo come in altri casi,
เพราะว่าคำสรรพนามแบบนี้ มันจะอยู่ก่อนคำกริยา ไม่ใช่อยู่หลังคำกริยา และจะอยู่ใกล้กับคำกริยา เหมือนกับในกรณีอื่นๆ ค่ะ
e poi se avessi voluto usare loro, em…, l’avrei dovuto mettere dopo.
ถ้าตอนนั้นฉันอยากจะใช้คำว่า พวกเขา อืม… ฉันก็คงจะต้องวางมันไว้ข้างหลังคำกริยาค่ะ
– Posso dire o in modo informale “gli porto”, che significa a loro tanti regali, oppure in modo più corretto “porto loro tanti regali”.
ฉันใช้พูดแบบไม่เป็นทางการ “ฉันนำไปให้พวกเขา” หมายถึง ไปที่พวกเขา ของขวัญมากมายค่ะ หรือในแบบที่ถูกต้องมากขึ้น “ฉันนำพวกของขวัญมากมายไปให้พวกเขาค่ะ”
– Però se lo scrivo così questo è sbagliato.
แต่ว่า ถ้าฉันเขียนมันแบบนี้ ข้อนี้มันก็ผิดค่ะ
– Bene.
ดีค่ะ
– Eh… continua perché è doppia quindi questa vale mezzo punto.
ค่ะ… ต่อค่ะ เพราะว่ามันมีสองคำตอบค่ะ ดังนั้นข้อนี้มีค่าครึ่งคะแนนค่ะ
– E a tua cugina?
และลูกพี่ลูกน้องสาวของเธอหล่ะคะ
A) La regolo
😎 Le regalo
C) Gli regalo
– una crema profumata.
ฉันให้ครีมกลิ่มหอมเป็นของขวัญกับนางค่ะ
– Allora abbiamo detto.
เอาหล่ะค่ะ พวกเราได้พูดไปแล้วว่า
– Nella lezione 28 abbiamo visto, bravissimi, i pronomi indiretti.
ในบทเรียนที่ 28 พวกเราได้เรียนกันไปแล้ว เก่งมากๆ ค่ะ คือ พวกคำสรรพนามแบบไม่ตรงค่ะ
– “La regalo” è un pronome diretto.
“มัน ฉันให้เป็นของขวัญ” มันคือคำสรรพนามแบบตรงค่ะ
– Abbiamo tre passaggi, regalare qualcosa a qualcuno.
พวกเรามีสามท่อนค่ะ การให้ของขวัญอะไรบางอย่างกับใครบางคนค่ะ
– Quindi non può essere.
ดังนั้น มันไม่สามารถเป็นไปได้
– Spero che non l’abbiate scritto.
ฉันหวังว่าพวกเธอคงจะไม่เขียนมันนะคะ
😎 Le regalo, bravissimi, questa è la soluzione.
ข้อ B ฉันให้ของขวัญกับนาง เก่งมากๆ ค่ะ ข้อนี้คือคำตอบที่ถูกต้องค่ะ
C) Gli regalo no, perché a mio cugino.
ข้อ C ฉันให้ของขวัญกับเขาผู้ชาย ไม่ใช่นะคะ เพราะว่า มันหมายถึงลูกพี่ลูกน้องผู้ชายของฉันค่ะ
– Che cosa regali a tuo cugino?
เธอให้ของขวัญอะไรกับลูกพี่ลูกน้องผู้ชายของเธอคะ
– Gli regalo un libro, per esempio.
ตัวอย่างเช่น ฉันให้หนังสือเล่มนึงเป็นของขวัญกับเขาค่ะ
– Però lei è una ragazza, quindi le regolo, quindi le significa a lei.
แต่ว่าหล่อน คือ เด็กวัยรุ่นผู้หญิงคนหนึ่ง ดังนั้น le regolo แปลว่า ฉันให้ของขวัญกับหล่อน ดังนั้น le หมายถึง ไปที่หล่อนค่ะ
– Io regalo qualcosa a lei, tre passaggi.
ฉันให้ของขวัญอะไรบางอย่างกับหล่อน สามขั้นตอนค่ะ
– Se lo avete sbagliato andate a rivedere la lezione 28.
ถ้าพวกเธอตอบผิด พวกเธอก็กลับไปดูบทเรียนที่ 28 ซ้ำกันนะคะ
– Bene.
ดีค่ะ
– Numero 4, che corrisponde alla lezione 29.
หมายเลข 4 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 29 ค่ะ
– Che cosa hai raccontato ai tuoi amici?
เธอเล่าเรื่องอะไรให้พวกเพื่อนๆ ของเธอฟังคะ
A) Gli ho raccontati
😎 Li ho raccontato
C) Gli ho raccontato
ฉันเล่าให้พวกเขาฟังแล้วว่า
– com’è andata la vacanza.
วันหยุดพักผ่อนนั้นเป็นไปอย่างไรบ้างค่ะ
เรียนภาษาอิตาลี
เรียนภาษาอิตาลี
– E questa diciamo non era doppia, quindi abbiamo un punto.
และข้อนี้ก็พูดได้ว่า มันไม่ได้มีสองคำตอบค่ะ ดังนั้นพวกเราก็มีหนึ่งคะแนนค่ะ
– Quindi questa risposta vale un punto.
ดังนั้นข้อนี้มีค่าหนึ่งคะแนนค่ะ
– Bravi, bravi, bravi
เก่งมากค่ะ เก่งมากค่ะ เก่งมากค่ะ
– Allora, gli ho raccontato.
เอาหล่ะค่ะ ฉันได้เล่าให้พวกเขาฟังไปแล้ว
– Perché?
ทำไมคะ
– Perché a loro.
เพราะว่า ไปที่พวกเขา ค่ะ
– Gli in questo caso significa a loro.
คำว่า gli ในกรณีนี้ มันหมายถึง ไปที่พวกเขาทั้งหลายค่ะ
– Ma siccome abbiamo il pronome non più diretto ma indiretto, non mi serve l’accordo del participio. Ok?
เนื่องจากพวกเรามีคำสรรพนาม ที่ไม่ใช่คำสรรพนามแบบตรงอีกต่อไป แต่มันคือคำสรรพนามแบบไม่ตรง ฉันจึงไม่จำเป็นต้องผันตามเพศและตามจำนวนค่ะ ตามนี้นะคะ
– Come qua.
เช่นตรงนี้
– Qua addirittura abbiamo messo un pronome diretto quando raccontare qualcosa a qualcuno, tre passaggi.
ตรงนี้พวกเราใส่คำสรรพนามแบบตรง ตอนที่เล่าอะไรบางอย่าง ให้กับใครบางคนฟัง สามขั้นตอนค่ะ
– Quindi la risposta corretta è gli, io ho raccontato qualcosa a chi?
ดังนั้นคำตอบที่ถูกต้องมันคือ gli ค่ะ ฉันได้เล่าอะไรบางอย่าง ให้กับใครคะ
– A loro com’è andata la vacanza.
ให้กับพวกเขาฟังว่า วันหยุดพักผ่อนมันเป็นไปอย่างไรบ้างค่ะ
– Bene, domanda numero 5 che corrisponde alla lezione 30.
ดีค่ะ คำถามหมายเลข 5 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 30 ค่ะ
– Quanto pane compri? Di solito…
เธอซื้อขนมปังเท่าไหร่คะ โดยปกติแล้ว…
A) Comprone
😎 Compro
C) Ne compro
ฉันซื้อมันไป
– un kilo.
หนึ่งกิโลกรัมค่ะ
– Bravo, bravi, vi ricordate la lezione in cui io spiego il pronome ne insieme al simpatico signor Ugo?
เยี่ยมมาก เก่งมากค่ะ พวกเธอจำบทเรียนที่ฉันอธิบายเกี่ยวกับเรื่องคำสรรพนาม ne พร้อมกับนายอูโก้ที่น่าคบกันได้ไหมคะ
– Quindi la risposta corretta è C, “io ne compro un kilo” perché abbiamo una quantità.
ดังนั้นคำตอบที่ถูกต้องมันคือข้อ C ค่ะ “ฉันซื้อมันหนึ่งกิโลกรัมค่ะ” เพราะว่าพวกเราพูดถึงปริมาณนึงค่ะ
– È sbagliato compro un kilo.
มันผิดค่ะ ฉันซื้อหนึ่งกิโลกรัมค่ะ
– Di solito compro un kilo di che cosa?
โดยปกติแล้ว ฉันซื้อหนึ่งกิโลกรัม ซื้ออะไรคะ
– O dico compro un kilo di pane oppure siccome mi avete chiesto quanto pane, ne compro un kilo.
หรือฉันควรพูดว่า ฉันซื้อขนมปังหนึ่งกิโลกรัม แต่พวกเธอถามฉันว่า ขนมปังจำนวนเท่าไหร่ ฉันซื้อมันหนึ่งกิโลกรัม ไม่ได้ซื้อหมดทั้งร้านค่ะ
– E anche questo comprone no, perché il pronome va prima del verbo e non attaccato al verbo.
และข้อนี้ comprone ก็ด้วยค่ะ ไม่ได้นะคะ เพราะว่าคำสรรพนามมันต้องอยู่ก่อนคำกริยา ไม่ใช่อยู่ติดกับคำกริยาค่ะ
– E continua perché è doppia.
ต่อค่ะ เพราะว่ามันมีสองคำตอบค่ะ
– E oggi?
และวันนี้หล่ะคะ
– Quanti kili di pane hai comprato?
เธอซื้อขนมปังไปแล้วกี่กิโลคะ
A) Ne ho comprato due.
ตอนนั้นฉันซื้อไปสองกิโลจากทั้งหมดที่เขามีค่ะ
– Questa era un po’ difficile.
ข้อนี้มันยากนิดนึงค่ะ
– Questa secondo me è difficile anche per gli italiani, perché a livello colloquiale non si rispettano sempre queste regole.
ข้อนี้ ฉันคิดว่ามันยากสำหรับคนอิตาลีด้วยค่ะ เพราะว่าเวลาที่เราคุยกัน เราก็ไม่เคารพกฎพวกนี้กันอ่ะค่ะ
A) Ne ho comprato due.
😎 Compratone due.
– Sì, bravi, questa è sbagliatissima, compratone non si sente da nessuna parte.
ใช่ค่ะ เก่งมากค่ะ ข้อนี้มันผิดมากๆ เลยนะคะ compratone ไม่มีใครเขาพูดกันหรอกค่ะ
C) Ne ho comprati due.
– Bravi, la risposta è la C, perché con il ne abbiamo in questo caso l’accordo del participio.
เก่งมากค่ะ คำตอบมันคือข้อ C ค่ะ เพราะกับคำว่า ne พวกเราต้องผัน participio ตามเพศและจำนวนด้วยค่ะ
– Due, di che cosa?
สอง เกี่ยวกับอะไรคะ
– Due kili.
สองกิโลกรัมค่ะ
– Io posso dire ne ho comprato due kili. Ok?
ฉันจะพูดว่า ฉันซื้อมันมาแล้วสองกิโลกรัมค่ะ (comprato ลงท้ายด้วย o เพราะมีคำว่ากิโลกรัมต่อท้ายค่ะ) ตามนี้นะคะ
– Oppure ne ho comprati due.
หรือฉันซื้อมันมาแล้วสองกิโลกรัมค่ะ (comprati ลงท้ายด้วย i เพราะว่าไม่มีคำว่า kili ต่อท้ายค่ะ)
– Stop.
หยุดค่ะ
– Attenzione, questa era abbastanza difficile anche per gli italiani.
ระวังนะคะ ข้อนี้มันก็ยากพอสมควรสำหรับคนอิตาลีด้วยค่ะ
– Quindi dovete fare abbastanza attenzione.
ดังนั้นพวกเธอต้องระมัดระวังให้มากนะคะ
– Vediamo se questa volta riuscirò a togliere questo foglio senza fare danni.
พวกเรามาดูกันค่ะว่า ครั้งนี้ฉันจะเอากระดาษแผ่นนี้ออกได้ไหม โดยที่ไม่ทำความเสียหายอ่ะค่ะ
– Eccoci qua.
นี่ไงคะ
– Bene, bene.
ดีค่ะ ดีค่ะ
– Allora, domanda numero 6 che corrisponde alla lezione 31.
เอาหล่ะค่ะ คำถามหมายเลข 6 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 31 ค่ะ
– Domani
วันพรุ่งนี้
A) Mi deve alzare alle 7.
😎 Devo alzarmi alle 7.
C) Mi devo alzarmi alle 7.
ฉันต้องตื่นตอนเจ็ดโมงเช้าค่ะ
– Bravi, mi devo alzarmi alle 7 è orribile e non è corretto.
เก่งมากค่ะ mi devo alzarmi alle 7 มันแย่มาก และก็ไม่ถูกต้องค่ะ
– Quindi mi deve alzare chi?
ดังนั้น เขาต้องทำให้ฉันลุกขึ้น ใครคะ
– Spero che non abbiate risposto ne A e ne C.
ฉันหวังว่าพวกเธอจะไม่ตอบทั้งข้อ A และ ข้อ C นะคะ
– E infatti la risposta corretta è B.
นี่ไงคะ คำตอบที่ถูกต้องคือข้อ B ค่ะ
– Devo alzarmi alle 7.
ฉันต้องลุกตัวเองขึ้นมาตอน 7 โมงค่ะ
– Allora qui abbiamo due opzioni.
เอาหล่ะค่ะ ตรงนี้พวกเรามีสองทางเลือกค่ะ
– In realtà qua la risposta corretta tra queste tre è solo la B.
ในความเป็นจริงแล้ว ตรงนี้ คำตอบที่ถูกต้องในสามข้อนี้ คือข้อ B ค่ะ
– Però nella lingua italiana posso dire o devo alzarmi alle 7 o mi devo alzare, non mi devo alzarmi.
แต่ว่าในภาษาอิตาลี ฉันจะพูดว่า devo alzarmi alle 7 ก็ได้ค่ะ (คำว่า mi อยู่ท้ายคำกริยา) หรือ mi devo alzare (คำว่า mi อยู่หน้าคำกริยา) เลือกเอาอย่างใดอย่างนึงค่ะ
– Va bene?
ตามนี้นะคะ
– Per questo dunque vi ho un po’ imbrogliato, vi ho messo alla prova. Ok?
ด้วยเหตุนี้ คือ ฉันก็หลอกล่อพวกเธอนิดนึงค่ะ ฉันก็ลองทดสอบพวกเธอดูอ่ะค่ะ โอเคนะคะ
– Però tra queste tre l’unica corretta è la B “devo alzarmi alle 7”.
แต่ในสามข้อนี้ มีคำตอบเดียวที่ถูกต้อง มันคือข้อ B ค่ะ “devo alzarmi alle 7”
– Potevo dire anche “mi devo alzare”, ma non “mi devo alzarmi”.
ตอนนั้นฉันจะพูดว่า “mi devo alzare” ก็ได้ แต่ไม่ใช่ “mi devo alzarmi” ใส่ mi ทั้งข้างหน้าและข้างหลัง ไม่ได้นะคะ
– Perché…
เพราะว่า…
– E continua perché questa è doppia e vale mezzo punto.
มาต่อกันค่ะ เพราะว่าข้อนี้มีสองคำตอบค่ะ และมีค่าครึ่งคะแนนค่ะ
– Devo prendere i mezzi pubblici.
ฉันต้องใช้บริการขนส่งสาธารณะค่ะ
– Quindi io spiego.
ดังนั้น ฉันขออธิบายนะคะ
A) Devo prenderli due.
😎 Li devo prenderne due.
ฉันต้องขึ้นสองคันค่ะ
– Questa è orribile!!!
ข้อนี้มันแย่มากค่ะ!!!
– Perché non posso usare.
เพราะว่าใช้แบบนี้ไม่ได้ค่ะ
– Risposto A, perché si, svegliarsi, è un verbo, bravissimi, riflessivo.
คำตอบข้อ A เพราะว่าคำว่า si การตื่นนอนด้วยตัวเอง มันคือคำกริยา เก่งมากค่ะ สะท้อนกลับค่ะ
– Lezione 24, programma A1.
บทเรียนที่ 24 ในระดับ A1 ค่ะ
– Ha bisogno dell’ausiliare essere e non avere.
มันต้องมีคำกริยาช่วย essere ไม่ใช่ avere ค่ะ
😎 Mi sono svegliata.
ฉันที่เป็นผู้หญิงตื่นขึ้นมาด้วยตัวเองแล้วค่ะ
– Bravissimi.
เก่งที่สุดเลยค่ะ
– Questa è la risposta corretta che vale mezzo punto.
ข้อนี้คือคำตอบที่ถูกต้อง ที่มีค่าครึ่งคะแนนค่ะ
C) Mi ho svegliato.
– Anche qua…
ข้อ C ตรงนี้ก็ด้วยค่ะ…
– Qui abbiamo la stessa cosa, però con l’accordo… tutte e due sono sbagliate perché prima di tutto l’ausiliare è sbagliato.
ตรงนี้ก็เหมือนกันค่ะ แต่ต้องผันตามเพศและจำนวนค่ะ… ทั้งสองข้อนี้มันผิดค่ะ เพราะว่าอย่างแรกเลยนะคะคำกริยาช่วยมันผิดค่ะ
– La risposta corretta è mi sono svegliata tardi.
คำตอบที่ถูกต้องคือ ฉันตื่นสายแล้ว ค่ะ
เรียนภาษาอิตาลี
เรียนภาษาอิตาลี
– Questa continua.
ข้อนี้มีต่อค่ะ
– Per questo…
ด้วยเหตุนี้…
A) Ho dovuto
😎 Sono dovuta
C) È dovuto
ฉันจำเป็นต้อง
– fare tutto velocemente.
ทำทุกอย่างทั้งหมดอย่างรวดเร็วค่ะ
– Allora, ho dovuto, sono dovuta.
เอาหล่ะค่ะ ใช้คำกริยาช่วยแบบไหนคะ
– Sono dovuta fare non lo posso dire.
คำว่า sono dovuta fare พูดแบบนี้ไม่ได้ค่ะ
– Posso dire sono dovuta uscire velocemente.
ฉันควรพูดว่า ฉันต้องออกไปข้างนอกอย่างรวดเร็ว แบบนี้ได้ค่ะ
– Perché?
ทำไมคะ
– Perché fare ha bisogno dell’ausiliare avere perché ha un complemento oggetto.
เพราะคำกริยา การทำ มันต้องใช้กับคำกริยาช่วย avere ค่ะ เพราะว่ามันมีกรรมมารองรับในประโยคค่ะ
– Vi ricordate?
พวกเธอจำกันได้ไหมคะ
– E quindi non essere.
ดังนั้น มันจึงใช้คำกริยาช่วย essere ไม่ได้ค่ะ
– Perché abbiamo un verbo modale.
เพราะว่าเรามีคำกริยาช่วยแบบ modale ค่ะ
– È dovuto sbagliatissimo, perché chi?
คำว่า è dovuto มันผิดมากๆ ค่ะ เพราะว่าใครคะ
– A parte che c’è l’ausiliare sbagliato e poi anche la persona perché stiamo parlando di me. Ok?
นอกจากจะใช้คำกริยาช่วยผิดแล้ว ก็ยังผิดคนด้วยค่ะ เพราะว่ากำลังพูดถึงฉันอยู่ ไม่ใช่เขาค่ะ โอเคไหมคะ
– Quindi per questo, ho dovuto fare tutto velocemente.
ดังนั้นด้วยเหตุนี้ ฉันจึงต้องทำทุกอย่างทั้งหมดอย่างรวดเร็วค่ะ
– Numero 8, corrisponde alla lezione 33.
หมายเลข 8 อ้างถึงบทเรียนที่ 33 ค่ะ
– Quando
เมื่อ
A) Sarò finita
ฉันจะทำเสร็จ
– Oh no, sarò finita significa, non significa niente in realtà, ma significa quasi morta.
ข้อ A โอ้ว ไม่นะคะ คำว่า sarò finita ไม่มีความหมายอะไรเลยค่ะ แต่มันหมายความว่า ฉันใกล้ตายแล้วค่ะ
– Oddio!
โอ้วพระเจ้า!
– Questa… spero che non abbiate risposto A.
ข้อนี้… ฉันหวังว่าพวกเธอจะไม่ตอบข้อ A กันนะคะ
😎 Sarà finito
C) Avrò finito
– di studiare.
เมื่อฉันจะเรียนเสร็จในอนาคต
– Sì, avrò finito di studiare, perché per esempio, quando sarò finito il corso.
ใช่ค่ะ เมื่อฉันจะเรียนเสร็จในอนาคต ใช้ avere เพราะว่า ตัวอย่างเช่น เมื่อฉันจะทำหลักสูตรนี้เสร็จ ใช้ essere
– Allora, sì, però il soggetto sono io e avrò finito che cosa?
เอาหล่ะค่ะ ใช่ค่ะ แต่ว่าประธานประโยคคือฉันค่ะ และฉันจะทำอะไรเสร็จคะ
– Di studiare.
เมื่อฉันเรียนเสร็จค่ะ
– Quindi ho bisogno dell’ausiliare avere.
ดังนั้นฉันต้องใช้คำกริยาช่วย avere เพราะมันไม่ใช่การเปลี่ยนสถานะค่ะ
A) Avrò potuto
😎 Sarò potuta
C) Potrò
– uscire.
ฉันจะออกไปข้างนอกค่ะ
– Se avete ascoltato bene la lezione 33, io vi ho detto che normalmente questo qua,
ถ้าพวกเธอฟังบทเรียนที่ 33 ให้ดี ฉันบอกพวกเธอไปว่าโดยปกติแล้ว ตรงนี้
che sarebbe il futuro composto, in una frase del genere si combina con il futuro semplice. Ok?
มันน่าจะใช้ คำกริยาในอนาคตที่มีสองตัว ในประโยคแบบนี้ จะใช้ร่วมกับคำกริยาในช่วงเวลาอนาคตแบบที่มีคำเดียวค่ะ
– E non con un altro futuro composto.
และจะไม่ใช้กับ futuro composto ตัวอื่นๆ ค่ะ
– Perché?
ทำไมคะ
– Quindi posso anche invertire e dire potrò uscire quando avrò finito di studiare.
ดังนั้น ฉันจะพูดกลับกันก็ได้ และพูดว่า ฉันจะสามารถออกไปข้างนอกได้เมื่อฉันได้เรียนเสร็จแล้วค่ะ
– Ok, l’azione… la prima azione passata, passata scusate, futura, però conclusa.
โอเค การกระทำ… การกระทำแรกผ่านไปแล้ว ขอโทษค่ะ การกระทำแรกในอนาคต ที่เสร็จสิ้นไปแล้ว
– Avrò finito di studiare.
เมื่อฉันเรียนเสร็จในอนาคต
– Ok, e poi potrò uscire.
โอเค แล้วฉันถึงจะออกไปข้างนอกได้ค่ะ
– Oppure uscirò, futuro semplice.
หรือจะใช้ uscirò ในช่วงเวลา futuro semplice ก็ได้ค่ะ
– Ricordate, quindi la risposta corretta è C.
พวกเธอจำไว้นะคะ ดังนั้นคำตอบที่ถูกต้องมันคือข้อ C ค่ะ
เรียนภาษาอิตาลี
เรียนภาษาอิตาลี
– Abbiamo C e C, quindi due mezzi punti.
พวกเรามีข้อ C และ ข้อ C ค่ะ ดังนั้นข้อละครึ่งคะแนนค่ะ
– 9 e corrisponde alla lezione 34.
ข้อที่ 9 อ้างถึงบทเรียนที่ 34 ค่ะ
– Chissà quanti anni
A) Avrà
😎 Sarà
C) Terrà
ใครจะรู้ว่าเขาน่าจะมีอายุกี่ปี
– Miei cari spagnoli, non rispondete C. Ok?
พวกเพื่อนๆ ชาวสเปนที่น่ารักของฉัน พวกเธอห้ามตอบข้อ C กันนะคะ โอเคไหมคะ
– Miei cari inglesi e anglosassoni per favore, non rispondete B.
พวกเพื่อนๆ ชาวอังกฤษและชาวอัลโกลซาสโซนิที่น่ารักของฉัน ได้โปรดนะคะ พวกเธอห้ามตอบข้อ B กันนะคะ
– Ma rispondete A) avrà.
แต่ว่าพวกเธอควรตอบข้อ A) avrà ค่ะ
– Perché, vi ricordate?
ทำไมคะ พวกเธอจำกันได้ไหมคะ
– La lezione 34, con la mia cara amica Eleonora, io spiego il futuro nelle ipotesi.
บทเรียนที่ 34 กับเพื่อนรักของฉัน เอเลโอโนร่าค่ะ ฉันได้อธิบายเรื่องการใช้ il futuro กับการตั้งสมมุติฐานแบบต่างๆ ค่ะ
– Perché sto ipotizzando.
เพราะว่าฉันกำลังตั้งสมมุติฐานอยู่ค่ะ
– Io so non esattamente quanti anni abbia quell’attrice, quindi chissà.
ฉันไม่รู้แน่ชัดว่า นักแสดงหญิงคนนั้นน่าจะมีอายุเท่าไหร่ ดังนั้นฉันก็ใช้คำว่า chissà
– Chissà vuol dire che non lo so.
คำว่า chissà หมายความว่า ฉันไม่รู้ค่ะ
– Quanti anni avrà? Ok?
หล่อนจะมีอายุเท่าไหร่คะ โอเคไหมคะ
– Quindi quanti anni hai?
ดังนั้น เธอมีอายุเท่าไหร่คะ
– Niente verbo essere e niente verbo tenete.
ไม่มีคำกริยา essere และไม่มีคำกริยา terene นะคะ
– Va bene?
ตกลงไหมคะ
– Continua.
ต่อค่ะ
– Quell’attrice, e quanto…
A) Costarà
นักแสดงหญิงคนนั้น และ costarà เท่าไหร่…
– Bravi, non esiste costarà, non esiste né in cielo né in terra.
เก่งมากค่ะ มันไม่มีคำว่า costarà ทั้งบนฟ้าและบนดินค่ะ
– Era un imbroglio.
มันคือการหลอกลวงค่ะ
😎 Ha costato
– Sbagliato, perché se proprio volevate usare il passato prossimo,
ข้อ B ผิดค่ะ เพราะว่าถ้าพวกเธออยากจะใช้ช่วงเวลา il passato prossimo กันจริงๆ
avreste dovuto ambire il participio, perché è costato, anzi è costata la macchina.
พวกเธอก็น่าจะดู il participio ด้วยค่ะ เพราะว่ามันคือ è costato ยิ่งไปกว่านั้น มันคือ costata (ลงท้ายด้วย a) เพราะ รถยนต์ คือเพศหญิง ลงท้ายด้วย a ค่ะ
– Quindi questo in questa situazione è sbagliato.
ดังนั้น ในสถานการณ์นี้ มันผิดค่ะ
– È sbagliato il participio ed è sbagliato l’accordo.
Il participio มันผิด และผันไม่ตรงเพศด้วยค่ะ
C) Costerà
– Perché anche qui io sto ipotizzando.
ข้อ C เพราะว่าตรงนี้ฉันกำลังตั้งสมมุติฐานอยู่ค่ะ
– Costerà, perché anche qui io sto ipotizzando, quanto costerà la sua bellissima macchina.
คำว่า costerà เพราะว่าตรงนี้ฉันกำลังตั้งสมมุติฐานอยู่ค่ะ รถยนต์ที่สวยงามของหล่อนมันจะมีราคาเท่าไหร่คะ
– Io posso dire chissà quanto costa.
ฉันจะพูดว่า ใครจะรู้ว่ามันราคาเท่าไหร่ ก็ได้ค่ะ ผันคำกริยาในช่วงเวลาปัจจุบัน
– Oppure chissà quanto costerà.
หรือผันคำกริยาในช่วงเวลาอนาคตก็ได้ค่ะ
– Perché sto usando il futuro nelle ipotesi.
เพราะว่าฉันกำลังใช้ il futuro ในการตั้งสมมุติฐานอยู่ค่ะ
– E lo vediamo nella lezione 34.
และพวกเราก็ไปดูมันได้ในบทเรียนที่ 34 ค่ะ
– Numero 10, si riferisce alla lezione 35.
หมายเลข 10 มันอ้างถึงบทเรียนที่ 35 ค่ะ
– Com’era la cena?
ตอนนั้นอาหารเย็นเป็นอย่างไรคะ
A) Mi ha piaciuto
😎 Ci è piaciuta
C) Mi ho piaciuto
– molto!
ฉันชอบมันมากค่ะ!
– Beh, se avete risposto C avete molta autostima.
ค่ะ… ถ้าพวกเธอตอบข้อ C แสดงว่าพวกเธอมีความภาคภูมิใจในตนเองมากเลย คือหลงตัวเอง
– Scherzo!
ฉันล้อเล่นค่ะ!
– Perché mi ho piaciuto che voi avete piaciuto a voi stessi no!
เพราะว่า ฉันชอบตัวเองแล้ว แปลว่า พวกเธอชอบตัวเองแล้วค่ะ มันไม่ใช่นะคะ!
– Assolutamente no!
ไม่ใช่แน่นอนค่ะ!
– Mi ha piaciuto no, perché abbiamo detto proprio nella lezione 35, che il verbo piacere si usa al passato, quindi nei tempi composti, si usa con l’ausiliare essere.
ฉันชอบตัวเองแล้ว ก็ไม่ใช่นะคะ เพราะว่าพวกเราได้เรียนกันไปแล้วในบทเรียนที่ 35 ว่า คำกริยา piacere ในช่วงเวลาอดีต ดังนั้นในช่วงเวลา composti ค่ะ ที่ประกอบด้วยคำกริยาสองคำ จะต้องใช้กับคำกริยาช่วย essere ค่ะ
– Quindi, allora in questo caso un po’ vi ho imbrogliato,
ดังนั้น เอาหล่ะค่ะ ในกรณีนี้ ฉันก็หลอกพวกเธอนิดหน่อยค่ะ
perché ho detto ci è piaciuta, perché qua effettivamente non era chiaro com’era la cena.
เพราะตอนนั้นฉันสอนไว้ว่า ci è piaciuta เพราะว่าตรงนี้จริงๆ แล้วมันไม่ได้ชัดเจนเท่าไหร่ ตอนนั้นอาหารมื้อเย็นเป็นอย่างไรบ้างคะ
– Io lo posso chiedere a te, a voi, va bene?
ฉันสามารถถามมันกับเธอคนเดียว หรือกับพวกเธอหลายคนก็ได้ ตามนี้นะคะ
– Quindi qua rispondiamo al plurale, non rispondo io, non rispondo al singolare.
ดังนั้นตรงนี้ มันต้องเป็นพหูพจน์ค่ะ ฉันไม่ได้ตอบนะคะ ไม่ได้ตอบที่เอกพจน์ค่ะ
– Quindi a noi, questo significa a noi è piaciuta.
ดังนั้น ไปที่พวกเราค่ะ สิ่งนี้มันหมายถึง สำหรับพวกเราชอบมันแล้วค่ะ
– Inceve potevo dire anche mi è piaciuta.
ส่วนตอนนั้นฉันจะพูดว่า ฉันชอบมันแล้วก็ได้ค่ะ
– Ok? Va bene?
โอเคตามนี้นะคะ
– Qua siccome non era chiero il destinatario di questa domanda, allora io ho giocato coi pronomi.
ตรงนี้ คือ เป้าหมายปลายทางของคำถามนี้มันไม่ชัดเจนอ่ะค่ะ ฉันก็เลยเล่นกับพวกคำสรรพนามอ่ะค่ะ
– Però questa è l’unica risposta corretta.
แต่ว่า ข้อนี้มันคือคำตอบเดียวที่ถูกต้องค่ะ
– Questa risposta valeva un punto.
คำตอบนี้มีค่าหนึ่งคะแนนค่ะ
– Bene.
ดีค่ะ
– Domanda numero 11 che corrisponde alla lezione 36.
คำถามหมายเลข 11 อ้างถึงบทเรียนที่ 36 ค่ะ
– Che cosa si mangia in quel ristorante?
ในร้านอาหารนั้น เขาทานอะไรกันคะ
A) Si mangiano cibi orientali
เขาทานอาหารที่มาจากทางตะวันออกค่ะ
😎 Si mangia cibi internazionali
เขาทานอาหารต่างชาติค่ะ
C) Si mangia molto bene
เขาทำอาหารได้อร่อยค่ะ
– E qui forse vi ho fregati!
และตรงนี้ ฉันอาจจะหลอกพวกเธอได้ค่ะ!
– Vi ho imbrogliati!
ฉันหลอกพวกเธอได้แล้วค่ะ!
– Io l’ho detto infatti l’altra volta eh!
ฉันได้บอกมันไปครั้งที่แล้ว
– Allora, si mangia molto bene, la C, grammaticalmente è corretta.
เอาหล่ะค่ะ si mangia molto bene ข้อ C ตามหลักไวยากรณ์มันถูกต้องค่ะ
– Ma non andava bene in questo contesto.
แต่มันไม่ใช่คำตอบของคำถามนี้ค่ะ
– Perché io non vi ho chiesto come si mangia, io vi ho chiesto che cosa.
เพราะว่า ฉันไม่ได้ถามพวกเธอว่า เขาทำอร่อยไหม ฉันถามพวกเธอว่าเขาขายอะไรกันค่ะ
– Pasta, pizza, carne, pesce.
พาสต้า, พิซซ่า, เนื้อสัตว์, ปลา ค่ะ
– Orientale, italiano, ecc.
อาหารตะวันออก, อาหารอิตาลี ฯลฯ ค่ะ
– Quindi la C grammaticalmente è corretta.
ดังนั้นข้อ C ถูกหลักไวยากรณ์
– In quel ristorante si mangia molto bene, ma io non ve l’ho chiesto.
ในร้านอาหารร้านนั้น เขาทำอาหารอร่อยค่ะ แต่ว่าฉันไม่ได้ถามเรื่องนี้กับพวกเธอค่ะ
– Quindi non corrispondeva alla domanda, questa risposta non corrispondeva alla domanda.
ดังนั้น มันไม่สอดคล้องกับคำถาม คำตอบนี้ มันตอบไม่ตรงคำถามค่ะ
– Em… si mangia cibi internazionali no, perché qui come qua,
อืม… เขาทานอาหารนานาชาติ ไม่ใช่ค่ะ เพราะว่าตรงนี้ก็เหมือนกับตรงนี้ค่ะ
เรียนภาษาอิตาลี
เรียนภาษาอิตาลี
cibi internazionali, cibi orientali, abbiamo dei plurali.
พวกอาหารนานาชาติ, พวกอาหารตะวันออก มันเป็นพหูพจน์ค่ะ
– E quindi la risposta corretta è la A, perché si mangiano. Ok?
และดังนั้น คำตอบที่ถูกต้องจึงเป็นข้อ A เพราะต้องผันในรูปพหูพจน์ ตามนี้นะคะ
– Si mangia cibo internazionale, allora sarebbe stata corretta.
เขาทานอาหารนานาชาติกันค่ะ ถ้าเขียนในรูปเอกพจน์แบบนี้ มันก็น่าจะถูกต้องค่ะ
– Quindi attenzione.
ดังนั้น ต้องระมัดระวังนะคะ
– Si mangia più infinito, per esempio, oppure più un avverbio.
หลังคำว่า si mangia ต้องตามด้วยคำกริยาในรูป infinito ค่ะ (คำกริยาที่ลงท้ายด้วย -are, -ere, -ire) หรือจะตามด้วยคำวิเศษณ์ก็ได้ค่ะ
– Molto bene.
ดีมากค่ะ
– Em… oppure più un sostantivo al singolare.
อืม… หรือจะตามด้วยคำนามในรูปเอกพจน์ก็ได้ค่ะ
– Va bene?
โอเคไหมคะ
– No, più infinito non è vero, ho sbagliato io.
ไม่ใช่ค่ะ ตามด้วย infinito ไม่จริงค่ะ ฉันผิดเองค่ะ
– Quindi si mangia per esempio, bene, male, ecc.
ดังนั้น เขาทานกัน ตัวอย่างนะคะ แบบอร่อยดี หรือแบบแย่ ไม่อร่อยค่ะ ฯลฯ
– Oppure si mangia più un sostantivo singolare.
หรือว่า เขาทานกัน บวกกับคำนามเอกพจน์ค่ะ
– Va bene.
ตามนี้ค่ะ
– Si mangiano più un sostantivo al plurale.
Si mangiano บวกกับคำนามพหูพจน์ค่ะ
– Bene, continua.
ดีค่ะ ต่อค่ะ
– In discoteca che cosa si fa?
ในดิสโกเธค เขาทำอะไรกันคะ
– Che cosa si fa era un po’ stupida come domanda però grammaticalmente è corretta.
เขาทำอะไรกันคะ มันเป็นคำถามที่ดูงี่เง่าไปนิดนึงค่ะ แต่ว่าตามหลักไวยากรณ์มันถูกต้องค่ะ
A) Si si diverte
– Spero che non abbiate risposto questo.
ข้อ A ฉันหวังว่าพวกเธอจะไม่ได้ตอบข้อนี้กันนะคะ
– Sapete perché?
พวกเธอรู้ไหมคะว่าทำไม
– Perché io l’ho detto 10 mila volte, quindi davvero, se avete risposto A io mi arrabbierò molto.
เพราะฉันได้อธิบายไปแล้วหมื่นครั้งจริงๆ ค่ะ ถ้าพวกเธอตอบข้อ A ฉันจะโกรธมากๆ ค่ะ
– Se avete risposto B ci si bella, mi arrabbierò ancora di più perché non esiste ballarsi.
ถ้าพวกเธอได้ตอบข้อ B ci si balla ฉันจะโกธรมากขึ้นอีกค่ะ เพราะว่ามันไม่มีคำกริยา การเต้นรำด้วยตัวเอง ค่ะ
– Va bene?
ตกลงไหมคะ
– Esiste ballare.
มีแค่คำว่า การเต้นรำ ค่ะ
– Quindi se stata corretta avrei detto si bella.
ถ้าจะให้มันถูกต้อง ตอนนั้นฉันควรพูดว่า เขาเต้นรำกันค่ะ
– Oppure ci si diverte.
หรือพวกเขาทำให้ตัวเองสนุกสนานกันค่ะ
– Vi ricordate?
พวกเธอจำกันได้ไหมคะ
– L’ho ripetuto fino alla nausea.
ฉันได้พูดมันซ้ำแล้วซ้ำอีกจนรู้สึกคลื่นไส้แล้วค่ะ
– Con tanto di bacchetta magica e ho trasformato il primo si in ci, perché quando abbiamo due si,
กับไม้กายสิทธิ์ ฉันแปลง si ตัวแรกให้เป็น ci ที่ต้องทำแบบนี้เพราะคำว่า si มันมีสองตัวค่ะ
– uno impersonale e l’altro riflessivo, quindi un verbo riflessivo, il primo si diventa ci.
ตัวนึงเป็นแบบที่ไม่ระบุว่าใครเป็นคนทำ และอีกตัวหนึ่งเป็นแบบสะท้อนกลับค่ะ คำว่า si ตัวแรกมันเลยต้องกลายเป็น ci ค่ะ
– Infatti ci si diverte.
นี่ไงคะ ใครๆ ก็ทำให้ตัวเองสนุกสนานกันค่ะ
– Va bene?
ตกลงไหมคะ
– Ricordatelo per sempre.
พวกเธอจำมันไว้ตลอดเลยนะคะ
– Numero 12 che corrisponde alla lezione 37.
หมายเลข 12 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 37 ค่ะ
A) Non bisognate
– Sbagliatissimo, perché qua si usa solo come forma impersonale.
ข้อ A มันผิดมากที่สุดเลยค่ะ เพราะว่าตรงนี้ จะต้องใช้กับรูปแบบที่ไม่ระบุว่าใครเป็นคนทำเท่านั้นค่ะ
– Che sarebbe non bisogna.
ซึ่งก็น่าจะเป็น non bisogna มันไม่จำเป็นค่ะ
– Non bisogna studiare tutto in una volta prima dell’esame.
มันไม่จำเป็นต้องเรียนทั้งหมดในครั้งเดียวก่อนการสอบค่ะ
– Ok?
โอเคไหมคะ
– Bisogna studiare in modo graduale, in teoria.
มันจำเป็นต้องเรียนในรูปแบบค่อยเป็นค่อยไป ตามทฤษฎีว่าไว้ค่ะ
– Bene, e allora, non avete bisogno sarebbe stato corretto, se ci fosse stata la preposizione di.
ดีค่ะ และเอาหล่ะค่ะ คำว่า non avete bisogno มันน่าจะถูกต้อง ถ้ามันมีคำบุพบท di อยู่ด้วยค่ะ
– Non avete bisogno di studiare, per esempio.
ตัวอย่างเช่น พวกเธอไม่จำเป็นต้องเรียนค่ะ
– Però qua non c’è e quindi non è corretto avere bisogno di.
แต่ว่าตรงนี้ มันไม่มีค่ะ และดังนั้นคำว่า avere bisogno di มันจึงไม่ถูกต้องค่ะ
– E poi sarebbe stato un po’ strano.
แล้วมันก็น่าจะดูแปลกๆ ด้วยค่ะ
– Diciamo la frase migliore è non bisogna studiare.
พวกเราก็พูดได้ว่า ประโยคที่ดีที่สุดไม่จำเป็นต้องเรียนค่ะ
– Quindi non è necessario, questo è il senso, tutto in una volta prima dell’esame.
ดังนั้น นี่คือความหมายหลักของมันค่ะ ไม่จำเป็นที่จะเรียนทั้งหมดในครั้งเดียวก่อนการสอบค่ะ
– Numero 13 che corrisponde alla lezione 38.
หมายเลข 13 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 38 ค่ะ
A) Come eravano
– Bravi, questa, questa risposta è sbagliatissima, perché eravano, eravano non esiste.
ข้อ A เก่งมากค่ะ ข้อนี้ คำตอบข้อนี้มันผิดมากที่สุดค่ะ เพราะว่าคำว่า eravano มันไม่มีค่ะ
– Esiste eravamo noi, però non parliamo di noi.
มีแต่คำว่า eravamo พวกเราค่ะ แต่ว่าพวกเราไม่ได้พูดถึงพวกเราอ่ะค่ะ
– Parliamo dei, em… dei tuoi nonni va bene… da giovani.
พวกเราพูดถึง อืม… เกี่ยวกับปู่ย่า ตายายของเธอ โอเคนะคะ… เมื่อตอนที่พวกเขายังเป็นหนุ่มสาวกันอยู่อ่ะค่ะ
– Come erano, infatti questa risposta è corretta.
ตอนนั้นพวกเขาเป็นอย่างไร ด้วยเหตุนี้ คำตอบข้อนี้คือข้อที่ถูกต้องค่ะ
– Come sono stati no, perché?
คำว่า sono stati ไม่ใช่ค่ะ ทำไมคะ
– Nella lezione 38 abbiamo imparato l’imperfetto.
ในบทเรียนที่ 38 พวกเราได้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง l’imperfetto แล้วค่ะ
– Con l’imperfetto io imparo a descrivere, quindi io voglio sapere com’erano fisicamente i tuoi nonni.
กับช่วงเวลา l’imperfetto ฉันเรียนรู้เกี่ยวกับการอธิบาย ดังนั้น ฉันอยากรู้ว่า ตอนนั้นพวกเขาเป็นอย่างไร รูปร่างของปู่ย่าตายายของเธออ่ะค่ะ
– Non posso dire come sono stati.
ฉันไม่สามารถใช้คำว่า sono stati ได้ค่ะ
– Suona proprio male ed è sbagliato, perché quando io descrivo, cose, persone, situazioni al passato, io uso l’imperfetto.
มันฟังดูแปลกทีเดียวค่ะ และมันก็ผิดด้วยค่ะ เพราะว่าตอนที่ฉันอธิบาย สิ่งของ ผู้คน และสถานการณ์ในอดีต ฉันต้องใช้ l’imperfetto ค่ะ
– Numero 14 che corrisponde alla lezione 39.
หมายเลข 14 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 39 ค่ะ
– Chi
A) C’erano
😎 era
C) C’era
– alla festa?
ตอนนั้นมีใครบ้างที่งานเลี้ยง
– Non posso dire chi c’erano.
ฉันไม่สามารถพูดว่า chi c’erano ได้ค่ะ
– Posso chiedere c’erano molte persone alla festa?
ฉันต้องถามว่า ตอนนั้นมีผู้คนที่งานเลี้ยงเยอะไหมค่ะ
– Però se io uso il pronome interrogativo chi, ok, ho bisogno di un verbo alla terza persona singolare.
แต่ว่า ถ้าฉันใช้คำสรรพนามที่เป็นคำถามคำว่า chi (ใคร) โอเค ฉันก็จำเป็นต้องผันคำกริยาให้เป็นบุคคลที่สาม เอกพจน์ค่ะ
– Va bene?
โอเคไหมคะ
– Non posso dire chi era alla festa, perché esserci significa essere là.
ฉันไม่สามารถพูดว่า chi era ที่งานเลี้ยงได้ค่ะ เพราะว่าคำกริยาแบบเต็มๆ คือ esserci แปลว่า การอยู่ที่นั่นค่ะ
– Va bene.
โอเคค่ะ
– Posso dire chi cantava per esempio.
ฉันสามารถพูดว่า ตัวอย่างเช่น ตอนนั้นใครร้องเพลงค่ะ
– Allora, quindi chi c’era.
เอาหล่ะค่ะ ดังนั้น chi c’era (ตอนนั้นมีใคร)
– La risposta corretta è C, alla festa.
คำตอบที่ถูกต้องมันคือข้อ C ค่ะ ที่งานเลี้ยงฉลองค่ะ
– Finita.
จบค่ะ
– Quindi questa valeva solo un punto, cioè un punto, un pieno pieno.
ดังนั้น ข้อนี้มีค่าหนึ่งคะแนนค่ะ คือหนึ่งคะแนน เต็มๆ เลยค่ะ
– Em… 15, corrisponde alla lezione 40.
อืม… ข้อที่ 15 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 40 ค่ะ
– Ieri
A) Andavo
😎 Ho andato
C) Sono andata
เมื่อวานฉันไปมาแล้ว
– Spero che non abbiate risposto ho andato perché l’ho detto 10 mila, 100 mila, 1 milione di volte
ฉันหวังว่าพวกเธอคงจะไม่ตอบว่า ho andato นะคะ เพราะว่าฉันเคยพูดไปแล้วหมื่นครั้ง แสนครั้ง ล้านครั้ง
che quando ho un verbo di movimento ho bisogno dell’ausiliare essere.
ว่าเมื่อมีคำกริยาที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว ฉันจำเป็นต้องใช้คำกริยาช่วย essere ค่ะ
– E non dell’ausiliare avere.
และไม่ใช้คำกริยาช่วย avere ค่ะ
– Giusto?
ถูกต้องไหมคะ
– Bene, quindi sono andata, perché sto parlando io e c’è l’accordo al femminile.
ดีค่ะ ดังนั้น sono andata ค่ะ เพราะว่าฉันเป็นคนที่กำลังพูดอยู่ค่ะ และต้องผันให้เป็นเพศหญิงด้วยค่ะ
– Sono andata.
ฉันได้ไปมาแล้วค่ะ
– Andavo no, perché ho detto ieri.
คำว่า andavo (ตอนนั้นฉันไปเป็นประจำ) ไม่ใช่ค่ะ เพราะฉันพูดไว้ว่า เมื่อวานค่ะ
– Quindi un riferimento temporale ben preciso.
ดังนั้น เป็นการอ้างอิงถึงเวลาที่ชัดเจนแน่นอนค่ะ
– Al cinema con degli amici, questa è doppia.
ที่โรงภาพยนตร์กับพวกเพื่อนๆ ข้อนี้มีสองคำตอบค่ะ
– Che
A) Frequentavo
😎 Hai frequentato
C) Ho conosciuti
– anni fa.
ที่เคยคบหากันเมื่อหลายปีมาแล้วค่ะ
– Avrei in teoria anche potuto usare il passato prossimo, ma queste frasi al passato prossimo non c’entavano niente.
ตามทฤษฎีแล้ว ฉันก็น่าจะใช้ il passato prossimo ได้ค่ะ แต่ประโยคพวกนี้กับช่วงเวลา passato prossimo พวกมันไม่เกี่ยวข้องกันเลยค่ะ
– Erano sbagliatissme nel contesto.
ใช้ erano ในหัวข้อนี้ มันผิดมากที่สุดเลยค่ะ
– Ok, e poi questa anche a livello grammaticale.
โอเค แล้วก็ผิดตามหลักไวยากรณ์ด้วยค่ะ
– Ho conosciuti no, perché ho conosciuto.
คำว่า ho conosciuti ไม่ใช่ค่ะ ต้องเขียนว่า ho conosciuto (ฉันได้รู้จักแล้ว ลงท้ายด้วย o ค่ะ)
– Quindi comunque la risposta corretta è la A, che frequentavo.
ดังนั้น อย่างไรก็ตาม คำตอบที่ถูกต้องมันคือข้อ A คือ che frequentavo ค่ะ
– Hai frequentato.
คำว่า hai frequentato คือ เธอเป็นประธานประโยค
– Perché prima stavo parlando di me adesso parlo di te? No!
ในตอนแรกนั้น ฉันกำลังพูดถึงตัวฉันเอง แล้วตอนนี้ฉันพูดถึงเธอเหรอคะ ไม่ใช่ค่ะ!
– Che ho conosciuti, avrei dovuto dire che ho conosciuto anni fa.
คำว่า che ho conosciuti (ที่ฉันได้รู้จักไปแล้ว ลงท้ายด้วย i มันผิดค่ะ) ตอนนั้นฉันก็น่าจะเขียนว่า ที่ฉันได้รู้จักมาแล้วหลายปีค่ะ (ลงท้ายด้วย o ถึงจะถูกต้องค่ะ)
– Quindi la risposta corretta è la A.
ดังนั้นคำตอบที่ถูกต้องมันคือข้อ A ค่ะ
– Va bene?
โอเคไหมคะ
– Quindi mezzo punto e mezzo punto.
ดังนั้น ครึ่งคะแนนและครึ่งคะแนนค่ะ
– La C e la A, domanda 15.
ข้อ C และข้อ A ค่ะ คำถามข้อที่ 15 ค่ะ
– Dai, siamo vicini alla fine e ai risultati.
เอาหน่ะ ใกล้จบละ และก็เกือบจะได้เห็นผลลัพธ์กันแล้วค่ะ
– Domanda numero 16, lezione 41.
คำถามหมายเลข 16 บทเรียนที่ 41 ค่ะ
– L’altro giorno
A) Non sono potuta
😎 Non ho potuto
C) Non potevi
– uscire.
วันก่อนฉันไม่สามารถออกไปข้างนอกได้ค่ะ
– Perché
A) Dovevo
😎 Ho dovuto
C) Doveva
studiare.
เพราะว่าตอนนั้นฉันต้องเรียนค่ะ
– Ok, l’altro giorno A, siccome il verbo è uscire, iniziamo ad andare per esclusione.
โอเค วันก่อน ข้อ A แบบว่าคำกริยามันคือการออกไปข้างนอก พวกเรามาเริ่มตัดสิ่งที่ไม่ใช่ออกไปกันค่ะ
– Non ho potuto uscire no, perché è un verbo di movimento, quindi non posso usare avere come l’ausiliare.
คำว่า non ho potuto uscire ไม่ใช่ค่ะ เพราะว่ามันคือคำกริยาที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวค่ะ ดังนั้น ฉันใช้คำกริยา avere เป็นคำกริยาช่วยไม่ได้ค่ะ
เรียนภาษาอิตาลี
เรียนภาษาอิตาลี
– Em… non potevi uscire, non potevi saresti tu e ci sta bene con il resto della frase.
อืม… non potevi uscire คำว่า non potevi น่าจะเป็นเธอ และมันก็อยู่ได้ดีกับส่วนที่เหลือของประโยคค่ะ
– Perché anche qua sto parlando di me.
เพราะว่าตรงนี้ก็ด้วยค่ะ ฉันกำลังพูดถึงตัวฉันอยู่ค่ะ
– Non sono potuta, ok, quindi abbiamo l’ausiliare essere che si accorda all’infinito, che è un verbo di movimento.
ตอนนั้นฉันไม่สามารถ โอเค ดังนั้นพวกเรามีคำกริยาช่วย essere แล้ว participio ก็ลงท้ายด้วย a เพราะเป็นคำกริยาเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
– E l’accordo del participio perché parlo io e sono una donna.
และมีการผัน participio เพราะว่าฉันเป็นคนพูด และฉันก็เป็นผู้หญิง
– Un po’ si cancella coi fogli sopra.
มันลบไปนิดนึงกับแผ่นกระดาษข้างบนค่ะ
– Eh va bene.
โอเคค่ะ
– Perché
เพราะว่า
A) Dovevo
ตอนนั้นฉันจะต้อง
– Ho dovuto è sbagliatissimo abbiamo detto.
คำว่า ho dovuto มันผิดมากที่สุด พวกเราได้พูดกันไปแล้วค่ะ
– Doveva chi?
ตอนนั้นเขาต้อง เขาคือใครคะ
– Stiamo parlando di me e cambiamo.
พวกเรากำลังพูดถึงตัวฉันอยู่นะคะ และพวกเราก็มาเปลี่ยน
– E allora, dovevo studiare.
และเอาหล่ะค่ะ dovevo studiare ตอนนั้นฉันต้องเรียนค่ะ
– Quindi non sono potuta uscire perché dovevo studiare.
ดังนั้น ฉันไม่สามารถออกไปข้างนอกได้ค่ะ เพราะว่าตอนนั้นฉันเรียนค่ะ
– 17, corrisponde alla lezione 42.
ข้อที่ 17 อ้างถึงบทเรียนที่ 42 ค่ะ
– L’altro ieri ho ritrovato un libro che aveva perso, chi?
เมื่อวานซืน ฉันเจอหลังสือเล่มนึงที่เขาทำหายค่ะ ใครคะ
– Perché aveva se l’ho trovato io?
ทำไมถึงใช้ aveva คะ ถ้าฉันเป็นคนที่พบมัน
– Aveva perduto.
คำว่า aveva perduto แปลว่า ตอนนั้นเขาทำหายค่ะ
– Allora in teoria potevate usare anche perduto, anche se è un po’ arcaica come forma, ma aveva perduto chi?
เอาหล่ะค่ะ ในทางทฤษฎี พวกเธอจะใช้คำว่า perduto ก็ได้ค่ะ แม้ว่ามันจะดูโบราณไปนิดนึง แต่ว่าตอนนั้นเขาทำหาย เขาคือใครคะ
– E allora, avevo perso io, perché stiamo parlando di me.
และเอาหล่ะค่ะ ตอนนั้นฉันเองที่ทำมันหายค่ะ เพราะว่าพวกเรากำลังพูดถึงตัวฉันอยู่ค่ะ
– Dovete sempre capire chi parla, chi è soggetto ecc…
พวกเธอต้องทำความเข้าใจเสมอ ว่าใครเป็นคนพูด ใครเป็นประธานค่ะ
– 18, corrisponde alla lezione 43.
ข้อที่ 18 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 43 ค่ะ
– Hai preso la carta d’identità? Sì
เธอนำบัตรประชาชนมาด้วยใช่ไหมคะ ค่ะ
A) Ce la ho
😎 Ce l’ho!
C) Ce ne ho
ฉันนำมันมาค่ะ
– Perché ce ne ho?
ทำไมถึงใช้ ce ne ho คะ
– Posso dire ce ne ho una.
ฉันจะพูดว่า ce ne ho una ก็ได้ แปลว่า ฉันมีมันหนึ่งอันค่ะ
– Qua, siccome non ho una quantità niente ne.
ตรงนี้ เนื่องจากว่า ไม่ใช่ปริมาณส่วนนึง เพราะฉะนั้น ก็ไม่มีคำว่า ne ค่ะ
– Ce la ho, abbiamo troppe vocali vicine, quindi vi ricordate la bacchetta magica apostrofo, ce l’ho.
คำว่า ce la ho มีตัวสระติดกันมากเกินไปค่ะ ดังนั้น พวกเธอจำไม้กายสิทธิ์ได้ไหมคะ ใส่เครื่องหมายลูกน้ำ กลายเป็นคำว่า ce l’ho (ฉันมีมันค่ะ)
– E i documenti? Sì
และพวกเอกสารหล่ะคะ มีค่ะ
A) Ce l’ho
– No, perché è plurale.
คำว่า ce l’ho ไม่ใช่นะคะ เพราะว่ามันเป็นหหูพจน์ค่ะ
– Sì, ce li ho!
ใช่ค่ะ ฉันมีพวกมันค่ะ!
– Va bene.
ดีค่ะ
– Ce ne ho tutti?
ฉันมีมันทั้งหมดใช่ไหมคะ
– No, assolutamente!
ไม่ค่ะ ไม่ใช่อย่างแน่นอนค่ะ
– Avrei potuto dire ce li ho tutti, perché?
ตอนนั้นฉันก็น่าจะพูดว่า ฉันมีพวกมันทั้งหมดเลยค่ะ ทำไมคะ
– Perché non è una quantità, ma è una totalità. Ok?
เพราะว่า มันไม่ใช่ส่วนนึงค่ะ แต่ว่ามันหมายถึงทั้งหมดเลยคะ เข้าใจไหมคะ
– È un totale.
มันคือทั้งหมดที่มีค่ะ
– Quindi quando ho un totale, io ho tutti per esempio, io devo usare il pronome diretto.
ดังนั้น ใช้ตอนที่ฉันมีทั้งหมดเลยค่ะ ฉันมีมันทั้งหมดทุกอย่างเลย นั่นคือตัวอย่าง ซึ่งฉันจะต้องใช้คำสรรพนามแบบตรงค่ะ
– Quindi se fosse stata questa, sì, ce li ho tutti.
ดังนั้น ถ้าตอนนั้นมันเป็นแบบนี้ ค่ะ ก็พูดว่า ฉันมีพวกมันทั้งหมดค่ะ
– Ce ne ho alcuni.
ฉันมีแค่บางอันค่ะ
– Alcuni è una parte, tutti è un totale.
คำว่า alcuni คือแค่ส่วนหนึ่งค่ะ คำว่า tutti มันคือทั้งหมดค่ะ
– Ricordate questo è molto molto molto importante.
พวกเธอจำสิ่งนี้ไว้นะคะ มันสำคัญมากๆ ค่ะ
– Quindi questa è sbagliatissima!
ดังนั้น ข้อนี้มันผิดมากที่สุดค่ะ!
– 19, dai… che siamo vicini alla fine.
ข้อที่ 19 เอาหน่ะ… พวกเราใกล้ถึงเส้นชัยแล้วค่ะ
เรียนภาษาอิตาลี
เรียนภาษาอิตาลี
– Lezione 44.
บทเรียนที่ 44 ค่ะ
– Mio cugino si è spostato!
ลูกพี่ลูกน้องผู้ชายของฉัน เขาแต่งงานแล้วค่ะ!
– Davvero?
จริงเหรอคะ
A) Non l’ho saputo!
ฉันไม่รู้ข่าวนี้เลยค่ะ
– No, vi ho detto che molte volte è un vostro errore, ma in italiano non si dice.
ข้อ A ไม่ใช่นะคะ ฉันได้บอกพวกเธอไปแล้วหลายครั้งว่า มันคือข้อผิดพลาดของพวกเธอค่ะ แต่ในภาษาอิตาลี เขาไม่พูดกันแบบนี้ค่ะ
– Non lo so.
ฉันไม่รู้เกี่ยวกับมันค่ะ
– Perché non lo sai se te l’ho detto adesso?
ทำไมเธอถึงไม่รู้หล่ะ ในเมื่อฉันได้บอกมันให้เธอทราบตอนนี้แล้วไงคะ
– Quindi non lo sapevo, questa è la risposta corretta.
ดังนั้น non lo sapevo ตอนนั้นฉันไม่ทราบเลยค่ะ ข้อนี้คือคำตอบที่ถูกต้องค่ะ
– Numero 20, corrisponde alla lezione 45.
หมายเลข 20 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 45 ค่ะ
– Come andate a scuola?
พวกเธอไปโรงเรียนกันอย่างไรคะ
A) Vadoci
– Orribile, sbagliatissima.
ข้อ A มันแย่มากๆ ค่ะ ผิดมากๆ ค่ะ
😎 Ci andiamo
C) Andiamoci.
– Andiamoci è un imperativo, quindi non mi serve in questo caso.
คำว่า andiamoci พวกเราจงไปที่นั่น มันคือ คำสั่ง imperativo ค่ะ ดังนั้น แต่ในกรณีนี้ ฉันไม่ต้องสั่งก็ได้ค่ะ
– Quindi ci andiamo.
ดังนั้น ci andiamo พวกเราไปที่นั่น
– Quindi noi andiamo li, va bene?
ดังนั้น พวกเราไปที่นั่น ตามนี้นะคะ
– Quindi questo ci non si riferisce a noi, ma al luogo, in questo caso la scuola.
ดังนั้นคำว่า ci นี้ มันไม่ได้อ้างถึงพวกเราค่ะ แต่ว่ามันอ้างถึงสถานที่ ในกรณีนี้ก็คือโรงเรียนค่ะ
– In autobus.
ด้วยรถเมล์ค่ะ
– E vi piace?
และพวกเธอชอบมันกันไหมคะ
A) Sì, noi piace
– Vi prego no, è sbagliata!
ข้อ A ฉันขอร้องพวกเธอเลยนะคะ มันไม่ใช่ค่ะ มันผิดค่ะ!
😎 No, non ci piace per niente.
– Eh sì, è un po’ negativa come risposta ma è corretta.
ข้อ B ใช่ค่ะ มันดูเป็นแง่ลบไปนิดนึง สำหรับการตอบแบบนี้ แต่ว่ามันถูกต้องค่ะ
– Quindi a noi non piace per niente.
ดังนั้น สำหรับพวกเราไม่ชอบมันเลยค่ะ
C) Ci non piace
– No, perché abbiamo prima la negazione e poi il pronome.
ข้อ C ไม่ใช่ค่ะ เพราะว่าเราต้องวางคำว่า non ไว้ข้างหน้า แล้วค่อยตามด้วยคำสรรพนามค่ะ
– Quindi non ci piace o non ci piace per niente.
ดังนั้นพวกเราไม่ชอบมัน หรือพวกเราไม่ชอบมันเลยค่ะ
– Attenzione, prima la negazione.
ระวังนะคะ ต้องวาง non ไว้ข้างหน้าค่ะ
– Numero 21 che corrisponde alla lezione 46.
หมายเลข 21 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 46 ค่ะ
A) Che bell’ (doppia elle apostrofo)
กับเครื่องหมายลูกน้ำ
😎 Che bel (con una elle)
กับตัว เอลเล่ะ ตัวเดียว
C) Che bello
– bambo.
เด็กผู้ชายที่หล่อเหลาเอาการค่ะ
– Allora, il bimbo quindi che bel con una sola elle.
เอาหล่ะค่ะ เด็กผู้ชายคนนั้น ดังนั้น che bel มีเอลเล่ะตัวเดียวค่ะ
– Quindi questo sarebbe che bell’amico, per esempio. Ok?
ดังนั้น ข้อนี้มันน่าจะเป็น ตัวอย่างเช่น che bell’เพื่อนผู้ชาย โอเคไหมคะ คำนามที่ขึ้นต้นด้วยสระค่ะ
– Questo sarebbe che bello zaino.
ข้อนี้มันน่าจะเป็น che bello กระเป๋าเป้ ค่ะ เป็นคำนามที่ขึ้นต้นด้วย z ค่ะ
– Va bene?
โอเคไหมคะ
– Quindi attenzione all’aggettivo bello.
ดังนั้น ระมัดระวังเรื่องคำขยายนาม bello นะคะ
– E rivedete tutto nella lezione 46.
และพวกเธอก็กลับไปดูบทเรียนที่ 46 ซ้ำทั้งหมดด้วยค่ะ
– Numero 22 che corrisponde alla lezione 47.
หมายเลข 22 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 47 ค่ะ
– Se non ti piace quel programma.
ถ้าเธอไม่ชอบโปรแกรมนั้น
A) Non guardalo!
อย่าไปดูมันค่ะ
– Posso dire guardalo senza non, ma io ho detto se non ti piace.
ฉันสามารถพูดว่า guardalo (เธอจงดูมัน) ไม่มีคำว่า non ค่ะ แต่ตอนนั้นฉันพูดว่า ถ้าเธอไม่ชอบมัน
– Sbagliata!
ผิดค่ะ!
😎 Non guardarlo
– Quindi non guardare più il pronome.
ดังนั้น คำว่า non guardare (เธอห้ามดู) บวกกับคำสรรพนาม
– Non guardare quel programma.
เธอห้ามดูโปรแกรมนั้นค่ะ
C) Non lo guarda, chi sbagliato!
เขาไม่มองมัน ใครผิด
– Quindi come questo canale ragazzi, se non vi piace non guardatelo!
ดังนั้น ก็เหมือนช่องทางยูทูปนี้ค่ะเพื่อนๆ ถ้าพวกเธอไม่ชอบมัน พวกเธอก็ไม่ต้องดูมันค่ะ!
– Evitate i commenti e non sprecate tempo!
พวกเธอก็หลีกเลี่ยงที่จะเขียนคอมเม้นต์ต่างๆ และพวกเธอก็อย่าไปเสียเวลาเลยค่ะ!
– Bene.
ดีค่ะ
– Fortunatamente ho abbastanza visualizzazioni e vi ringrazio.
โชคดีที่ฉันมีผู้เข้าชมมากพอสมควร และฉันก็ขอขอบคุณพวกเธอนะคะ
– Bene.
ดีค่ะ
– Continua.
ต่อค่ะ
A) Scegline, e questa era un po’ difficile.
เธอจงเลือกมัน ข้อนี้ก็ยากนิดนึงค่ะ
😎 Sceglilo
C) Scegli
– un altro.
เธอจงเลือกอันอื่นไปค่ะ
– Allora, scegli un altro no, perché un altro è una quantità, bravi!!!
เอาหล่ะค่ะ scegli un altro (เธอจงเลือกอันอื่น) ไม่ใช่ค่ะ เพราะว่าคำว่า un altro มันคือปริมาณค่ะ เก่งมากค่ะ!!!
– E una quantità ha bisogno del pronome ne.
และปริมาณ มันก็จำเป็นต้องใช้คำสรรพนาม ne ค่ะ
– Scusate un po’ di caos qua, ma erano tante.
ขอโทษพวกเธอด้วยนะคะ ตรงนี้มันวุ่นวายนิดหน่อยค่ะ แต่ว่าพวกมันมีเยอะมากๆ เลยค่ะ
– Tanto l’importante è che mi ascoltiate, ok?
ที่สำคัญคือ พวกเธอควรจะฟังฉันค่ะ ตามนี้นะคะ
– Cerco di parlare chiaramente.
ฉันพยายามจะพูดให้ชัดเจนค่ะ
– Quindi scegline un altro, perché un altro è una quantità.
ดังนั้น scegline un altro (เธอก็เลือกอันอื่นไป จากจำนวนเต็มทั้งหมดค่ะ) เพราะว่าคำว่า un altro มันบอกปริมาณค่ะ
– Io ho tanti programmi, quindi non questo ma un altro.
ฉันมีหลายโปรแกรมค่ะ ดังนั้น ไม่ใช่อันนี้ แต่ว่าเป็นอันอื่นค่ะ
– Ho della scelta.
ฉันมีทางเลือกจำนวนนึงค่ะ
– Sceglilo un altro no!
คำว่า sceglilo un altro (เธอจงเลือกมันอันอื่นทั้งหมด) ไม่ใช่ค่ะ!
– Sceglilo quando io mi riferisco a qualcosa in preciso.
คำว่า sceglilo เธอจงเลือกมัน ใช้ตอนที่ฉันอ้างถึงอะไรบางอย่างที่เจาะจงค่ะ
– Ma in questo caso no.
แต่ว่าไม่ใช่ในกรณีนี้ค่ะ
– Qualcosa di preciso.
ต้องเป็นอะไรบางอย่างที่เจาะจงค่ะ
– Quindi scegli un altro no, quindi abbiamo la A.
ดังนั้น scegli un altro ไม่ใช่ค่ะ ดังนั้นพวกเรามีข้อ A ค่ะ
– Quindi anche questa valeva mezzo punto, quindi la 22 ha come soluzioni la B e la A.
ดังนั้น ข้อนี้ก็มีค่าครึ่งคะแนนค่ะ ดังนั้นข้อที่ 22 มีคำตอบข้อ B และข้อ A ค่ะ
– 23, si riferisce alla lezione 48.
ข้อที่ 23 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 48 ค่ะ
A) Vorrei
😎 Vorrei di
C) Volio
ฉันขอรบกวนขอ
– Allora, spero che non abbiate risposto C, perché vi ammazzo!
เอาหล่ะค่ะ ฉันหวังว่าพวกเธอคงจะไม่ได้ตอบข้อ C กันนะคะ เพราะไม่งั้น ฉันจะฆ่าพวกเธอค่ะ
– Scherzo!
ฉันล้อเล่นค่ะ!
– Perché volio non esiste.
เพราะคำว่า volio มันไม่มีค่ะ
– Volio è un misto tra volo e volio e non esiste.
คำว่า volio มันคือการผสมผสานระหว่าง volo และ volio และมันก็ไม่มีค่ะ
– E poi attenzione alla pronuncia gl.
ระวังเรื่องการออกเสียง ลยิ นะคะ
– Gl in italiano si pronuncia gl, non si pronuncia l.
ลยิ ในภาษาอิตาลีจะออกเสียง ลยิ ไม่ออกเสียงเป็นตัวเอลเล่นะคะ
– È come la l, ma tocca i denti.
มันเหมือนกับตัวเอลเล่ แต่ลิ้นต้องแตะที่ฟันค่ะ
– La l la vostra lingua tocca i denti.
ตัวเอลเล่ แล้วลิ้นของพวกเธอต้องแตะที่ฟันค่ะ
– La gl la vostra lingua rimane prima dei denti.
ตัว ลยิ ลิ้นของพวกเธอต้องค้างอยู่ที่ฟันก่อนค่ะ
– Fate un po’ esercizio, però ovviamente posso capire che sia un po’ difficile da pronuncia, ma da scrivere volio è grave!
พวกเธอก็ต้องฝึกออกเสียงกันสักหน่อยนะคะ แต่ก็แน่นอนค่ะ ฉันเข้าใจว่ามันอาจจะออกเสียงยากไปสักหน่อยค่ะ แต่ถ้าเขียนว่า volio มันผิดร้ายแรงมากค่ะ!
– Quindi volio è sbagliatissimo.
ดังนั้นคำว่า volio มันผิดอย่างมหันต์ค่ะ
– Comprare quelle scarpe, poi alla fine l’ho aggiunto.
ซื้อรองเท้าคู่นั้น แล้วตอนสุดท้ายฉันก็ได้เพิ่มมันเข้าไป
– Quindi la C è sbagliata.
ดังนั้นข้อ C มันผิดค่ะ
– Vorrei di, perché questo di?
คำว่า vorrei di ทำไมถึงมีคำว่า di คะ
– Em… io vi ricordo… qualche volta ho detto i miei cari amici tedeschi evitate di mettere la preposizione di quando non ci vuole.
อืม… ฉันขอเตือนความจำให้กับพวกเธอหน่อยค่ะ… บางครั้งฉันก็บอกกับพวกเพื่อนๆ ที่น่ารักชาวเยอรมันว่า พวกเธอต้องหลีกเลี่ยงการใส่คำบุพบท di ตอนที่มันไม่จำเป็นต้องมีนะคะ
– Quindi vorrei di no.
ดังนั้น vorrei di ไม่ใช่ค่ะ
A) Vorrei
– Vorrei comprare quelle scarpe.
ฉันอยากจะซื้อรองเท้าคู่นั้น
– Numero 24, corrisponde alla lezione 49.
หมายเลข 24 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 49 ค่ะ
– Ci siamo quasi.
ใกล้จบแล้วค่ะ
A) Sarei comprato
– Sbagliatissimo!
ข้อ A ผิดมากๆ ค่ะ!
– Perché?
ทำไมคะ
– Perché comprare che cosa?
เพราะว่าการซื้ออะไรคะ
– Complemento oggetto, ausiliare avere.
มันต้องมีกรรมที่มารองรับค่ะ คำกริยาช่วย avere ค่ะ
😎 Avrei comprate
– No, perché non c’è nessun pronome e nessun accordo.
ข้อ B ไม่ใช่ค่ะ เพราะว่ามันไม่มีคำสรรพนามและไม่ต้องผัน participio ค่ะ
– Avrei comprato, che cosa?
ตอนนั้นฉันน่าจะซื้อ อะไรคะ
– Quelle scarpe o un complemento oggetto espresso come un nome.
รองเท้าคู่นั้น หรือส่วนขยายที่บอกว่าซื้ออะไรค่ะ ต้องมีคำนามด้วยค่ะ
– E non con un pronome, quindi avrei comprato quelle scarpe.
และไม่ใช่คำสรรพนาม ดังนั้น ตอนนั้นฉันน่าจะซื้อรองเท้าคู่นั้นค่ะ
– Ma erano troppo care.
แต่ว่าตอนนั้นมันแพงเกินไปค่ะ
– Bene, allora vediamo.
ดีค่ะ เอาหล่ะค่ะ พวกเรามาดูกันค่ะ
– Quindi questa vale un punto.
ดังนั้น ข้อนี้มีค่าหนึ่งคะแนนค่ะ
– Avrei comprato C, ma erano troppo care.
ตอนนั้นฉันน่าจะซื้อ ข้อ C แต่ว่าตอนนั้นมันแพงเกินไปค่ะ
– Finiamo con la domanda numero 25 che si riferisce alla 50esima lezione.
พวกเรามาต่อให้จบด้วยคำถามหมายเลข 25 ที่อ้างถึงบทเรียนที่ 50 ค่ะ
– Ve la ricordate?
พวกเธอจำมันกันได้ไหมคะ
– Eccola qua.
มันอยู่นี่ค่ะ
– Ingrandite l’immagine.
พวกเธอขยายภาพให้ใหญ่ขึ้นนะคะ
– Questa è la soluzione.
ข้อนี้มันคือคำตอบค่ะ
– Allora, non pensavo che alla fine… ok.
เอาหล่ะค่ะ ตอนนั้นฉันก็ไม่คิดว่าสุดท้ายแล้ว… โอเค
– Saremmo andati (doppia emme), perché altrimenti saremo è un futuro.
พวกเราน่าจะได้ไป (ตัว m สองตัว) เพราะไม่เช่นนั้น พวกเราจะไป มันเป็นช่วงเวลาอนาคตค่ะ
– Credevo che
ตอนนั้นฉันเชื่อว่า
A) Avremmo mangiato
– Avremmo mangiato e non avremo mangiati.
พวกเราน่าจะทาน (ตัว m สองตัว) และไม่ใช่ พวกเราจะทาน (m หนึ่งเดียว) ค่ะ
– Ok, questi sono le soluzioni.
โอเค พวกนี้คือคำตอบค่ะ
– Eccola qua.
อยู่นี่ค่ะ
– Quindi A, no scusate la A è sbagliata.
ดังนั้นข้อ A ไม่ใช่ค่ะ ขอโทษพวกเธอด้วยนะคะ ข้อ A มันผิดค่ะ
– B e A ok?
ข้อ B และ ข้อ A โอเคไหมคะ
– Non confondete per favore il condizionale col futuro.
พวกเธออย่าสับสน il condizionale กับ il futuro นะคะ ได้โปรดค่ะ
– Bene.
ดีค่ะ
– Se avete fatto tutto tutto tutto correttamente vi posso consegnare questo certificato e vi faccio tanti auguri.
ถ้าพวกเธอทำทุกอย่างถูกต้องทั้งหมด ฉันก็สามารถมอบใบรับรองนี้ให้กับพวกเธอได้ค่ะ และฉันก็ขออวยพรให้กับพวกเธอด้วยค่ะ
– Eh… tanti auguri, tanti auguri.
ค่ะ… โชคดีนะคะ โชคดีค่ะ
– Continuate a seguirmi su One world italiano video.
พวกเธอก็ติดตามฉันกันต่อไปได้ที่ One world italiano video นะคะ
– Ciao a tutti e brindiamo!!!
สวัสดีทุกคน และพวกเราก็มาชนแก้วฉลองกันค่ะ!!!
– Io spero che voi… eh… dov’è il Cannonau?
ฉันหวังว่าพวกเธอ… เอ๊ะ… ไวน์ Cannonau อยู่ไหนคะ
– Sempre… sparisce sempre nei momenti migliori.
ตลอดเลย… หายไปในช่วงเวลาสำคัญตลอดเลย
– Eccolo qua!
มันอยู่นี่คะ!
– È qua sotto!
มันอยู่ตรงนี้ข้างล่างค่ะ!
– Eh… brindiamo con il nostro Cannonau alla vostra promozione e se non siete stati promossi va beh…
เอิ่ม… พวกเรามาชนแก้วฉลองด้วยไวน์ Cannonau เนื่องในโอกาสที่พวกเธอสอบผ่านเลื่อนชั้นกันค่ะ และถ้าพวกเธอสอบไม่ผ่าน ก็นะ…
rivedete tutto con calma tanto lo sapete che non c’è fretta!
พวกเธอก็กลับไปดูซ้ำทั้งหมดอย่างช้าๆ ก็อย่างที่พวกเธอรู้อ่ะค่ะ ว่าไม่ต้องเรียนแบบรีบร้อนค่ะ!
– Ciao a tutti e arrivederci!!!
สวัสดีทุกคนและพบกันใหม่ค่ะ!!!
– Eh… ci vediamo nel programma B1!
ค่ะ… แล้วพวกเราค่อยมาพบกันในโปรแกรมของระดับ B1 กันนะคะ!
– Ciao, tanti auguri!!!
บ๊ายบายค่ะ โชคดีนะคะ!!!
ท้ายสุดนี้ ก็ไม่ลืมที่จะขอบคุณน้องมาย ที่ตั้งใจเรียน และตั้งใจแปลวิดีโอนี้มาให้พวกเราได้เรียนกันแบบสะดวกสบายมากขึ้นค่ะ ถ้าสนใจอยากรู้ว่าน้องมายเรียนอะไรไปบ้างแล้ว เชิญไปดูที่เพจของเธอได้เลยค่ะ
เรียนภาษาอิตาเลียนด้วยตัวเอง (สมุดส่งการบ้าน)
เพิ่มเติม
ชีวิตหญิงไทยในต่างแดน เฟสบุ๊คเพจ
โปรดลงทะเบียนเพื่อรับThai Women Living Abroad ข่าวสารใหม่อย่างต่อ